Tuesday, March 21, 2017

Workshopของนักเรียน โรงเรียนปัญญาวิทย์ จ.ปัตตานี (Art Workshop Students from Punyawit School, Pattani Province)



  Jehabdulloh Jehsorhoh

ผศ.เจะอับดุลเลาะ เจ๊ะสอเหาะ นักวาดรูป ศิลปิน สาขาวิชาทัศนศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี.












                                                                         



Jehabdulloh Jehsorhoh's art is rooted in the South of Thailand, in Pattani province. His art incorporates lines, colors, characteristics and the 'way of living' from native Malayu people at the southern border of Thailand. He received several Excellence Awards in many art contests from 2005 – 2012.  His colorful works have distinguishing features that deeply reflect love and understanding in his hometown. He also did some installation artworks with children and students in the community. He taught them about the meanings and puposes of these works. These are in-depth creations which are frequently found in western arts. Presently, he is running a project to construct an art exhibition hall in Pattani Province.










งานศิลปะของเจะอับดุลเลาะ เจ๊ะสอเหาะนั้นมีรากฐานอยู่ที่ทางภาคใต้ของประเทศ
ไทย ในจังหวัดปัตตานี งานของเขาได้รวมเอาเส้น สี ลักษณะและวิถีการใช้ชีวิต
ของชาวมลายูบริเวณชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย เขาได้รับรางวัลยอดเยี่ยม
จากการประกวดงานศิลปะหลายครั้งตั้งแต่ปีพ.ศ. 2548 ถึง พ.ศ. 2555 งานที่เต็ม
ไปด้วยสีสันมีคุณลักษณะที่เห็นได้ชัดเจนซึ่งสะท้อนความรักและความเข้าใจใน
ภูมิลำเนาอย่างลึกซึ้ง และยังแสดงงานศิลปะร่วมกับเด็กนักเรียนและนักศึกษาที่อยู่
ในชุมชนแถวนั้นโดยสอนให้รู้ถึงเป้าหมายและจุดประสงค์ของงานศิลปะ ซึ่งผลงาน
ที่มีความหมายลึกซึ้งนี้จะพบมากในศิลปะตะวันตก ปัจจุบันนี้คุณเจะอับดุลเลาะ
กำลังดูแลงานก่อสร้างหอแสดงงานศิลปะในจังหวัดปัตตานี




























Asst.Jehabdulloh  Jehsorhoh

Born  February 17, 1983 Pattani, Thailand.



Education 

 - M.F.A. (Thai Art)  The Faculty of  Painting , Sculpture and Graphic Arts,  Silpakron University, Thailand

- B.F.A. Visual Art (Hons), Faculty of Fine Art, Prince of  Songkla University, Pattani Campus, Thailand



Occupation: Assistant Professor of the Department of Visual Arts. Faculty of Fine Art,
Prince of  Songkla University, Pattani Campus




















My intention is to create quality and standards of art in the south of Thailand, especially in the three provinces next to the border of Thailand. As a university lecturer, I have a great opportunity to deliver my knowledge and experience to students. I want to open public spaces to create an opportunity for young people to show their artistic ability fully. I myself aim to build an art exhibition hall in my hometown, Pattani. The hall will have both permanent sections and temporary art exhibition rooms. What I want to see are artworks that represent the uniqueness of the local area but such artworks must be understood universally by foreign people as well, regardless of their races or beliefs. Artworks in the show can be in any form and styles. I think these art creations may be a turning point of feelings and behaviors for both the creators and viewers.

















ความตั้งใจของผมคือสร้างคุณภาพและมาตรฐานของงานศิลปะทางภาคใต้ของ
ประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ในฐานะที่ผมเป็น
อาจารย์มหาวิทยาลัย ผมมีโอกาสอันยิ่งใหญ่ที่ได้ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์
ให้กับนักศึกษา ผมอยากเปิดพื้นที่สาธารณะเพื่อเปิดโอกาสให้คนรุ่นหนุ่มสาวแสดง
ความสามารถทางศิลปะได้อย่างเต็มที่ ผมตั้งเป้าหมายสร้างหอศิลป์ที่บ้านเกิดของ
ผมในจังหวัดปัตตานี หอศิลป์จะมีทั้งส่วนแสดงงานถาวร และห้องแสดงงานศิลปะ
เป้นครั้งคราว สิ่งที่ผมอยากจะเห็นคืองานศิลปะที่แสดงความเฉพาะตัวในท้องถิ่น
แต่งานศิลปะเช่นนี้สามารถสร้างความเข้าใจใด้ในระดับสากลด้วยเข่นกันโดยไม่
ต้องคำนึงถึงเชื้อชาติหรือความเชื่อ งานศิลปะที่นำมาแสดงจะเป็นรูปแบบอะไรก็ได้
ผมคิดว่างานศิลปะเหล่านี้จะเป็นจุดเปลี่ยนผันของความรู้สึกและพฤติกรรมสำหรับผู้
สร้างสรรค์และผู้รับชม



























































งานศิลปะสามารถพัฒนาและเปลี่ยนแปลงได้อย่างไร

ในคิดความคิดเห็นของผมทุกสิ่งมีบทบาทของตัวเองในการให้แรงบันดาลใจหรือมี
อิทธิพลกับวิธีที่คนผลิตงานศิลปะ ไม่ใช่ประเด็นสำคัญที่ว่างานสร้างสรรค์นั้นทำ
ด้วยฝีมือของมนุษย์หรือว่าพระผู้เป็นเจ้าและไม่สำคัญว่างานเหล่านั้นเกิดขึ้นมาจาก
ธรรมชาติหรือจากเทคโนโลยี แน่นอนว่างานศิลปะมีอิทธิพลมาจากหลายสิ่งหลาย
อย่างเช่นสถานที่ ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ ความศรัทธา การเมืองและ
เศรษฐกิจ นอกจากนี้การพัฒนาทางด้านเทคโนโลยียังมีผลต่อการทำงานและการ
ใช้ชีวิตในปัจจุบัน

ถ้าเป็นไปได้ผมอยากให้ทุกคนมองเห็นและทราบซึ้งกับงานศิลปะให้มากกว่านี้
นอกเหนือไปจากเรื่องศาสนาแล้วงานศิลปะยังเป็นวิธีที่ดีในการดูแลจิตใจจาก
อาการเจ็บปวดทางใจ ผมอยากให้ผู้คนมองดูศิลปะจากสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
ของประเทศไทย ศิลปะที่คุณค่าสร้างมาจากความไม่สงบและความรุนแรงในท้องที่
นั้น เหมือนกับดอกไม้สวยงามที่เติบโตในกองเพลิง ผมยังอยากให้คนสนับสนุน
ศิลปะจากทางภาคใต้เพราะมีความเป็นเอกลักษณ์และมอบประสบการณ์ที่แตกต่าง
จากจังหวัดอื่นๆในประเทศไทย














                                        How artworks can be improved and changed?



In my thinking, everything has its own role in giving inspiration or influencing the way people create art. It is not an important issue that creations are made by man or God and it also does not matter that they were created by either nature or technology. Indeed, artworks are influenced by various factors such as locations, traditions, cultures, beliefs, faith, politics and economics. In addition, technological developments affect the present way of working and living.

If it is possible, I would like people to see and appreciate art more. Apart from religion, it is a good way to ease your mind from mental suffering. Furthermore, I would like people to look at arts from the three southern provinces near the border of Thailand. They are precious arts created within the serious disturbance and violence in that area, just like a beautiful flower that grows in a fire. I also would like people to support Southern arts because they are quite unique and offer different experiences from the art in other provinces of Thailand.





บรรยากาศการบรรยายและทำArt workshopให้กับนักเรียนชั้นประถมปลาย ป.4-ป.6 กลุ่มที่สองจากโรงเรียนปัญญาวิทย์ อ.เมือง จ.ปัตตานี ณ หอศิลป์บ้านดอนรัก























































































No comments:

Post a Comment

Temp Song