Monday, September 13, 2010

Wat U-mong Chiangmai Thailand































Wat U-mong Chiangmai Thailand














เมื่อคุณได้มองไปที่ภาพถ่ายวัดอุโมงค์โดยลูกา อินเตอนิสซี และอัลแบร์โตแคสสิโอ คุณจะได้เห็นเจดีย์รูปทรงระฆังในสถานที่อันศักดิ์สิทธิ์ ก่อสร้างขึ้น
ที่จังหวัดเชียงใหม่ในสมัยโบราณ วัดอุโมงค์ตั้งอยู่ที่เชิงดอยสุเทพ-ปุยซึ่งเป็นพรมแดนธรรมชาติกั้นระหว่างประเทศประเทศไทยและประเทศพม่า มี
ทางเข้าสามทางเหมือนศิลปะพุกามของพม่า เจดีย์รูปทรงระฆังเป็นเป็นสถาปัตยกรรมล้านนายุคแรก (ประมาณพุทธศตวรรษที่ 19) ที่ได้รับอิทธิพล
มาจากสถาปัตยกรรมลังกาของอินเดีย เจดีย์และอุโมงค์ถูกละทิ้งมาเป็นเวลานาน แม้ว่าว่าชาวเชียงใหม่จะทราบว่าวัดอุโมงค์เป็นวัดโบราณและเป็น
สถานที่ศักดิ์สิทธิ์เป็นเพราะอาราม เจดีย์และกำแพงผุพังและพิพิธภัณฑ์ที่เก็บวัตถุโบราณ

วัดอุโมงค์ได้รับการบูรณะในปีพ.ศ. 2543 โดยกรมศิลปากร พระสงฆ์เริ่มที่จะไปอาศัยจำวัดอยู่ที่นั่น เมื่อมีการขุดดินออกมาแล้วก็เป็นการเปิดเผยถ้ำที่
ซ่อนอยู่ ในตอนนั้นยังไม่มีผู้ใดทราบเกี่ยวกับการมีอยู่ของถ้ำที่นั่นจนกระทั่งมีการค้นพบในปีนั้นความกว้าง 140 เซนติเมตร (55 นิ้ว) ความยาว 14 เมตร (46 ฟุต) และความสูง 180 เซนติเมตร (71 นิ้ว) อุโมงค์ประดับตกแต่งไปด้วยภาพเขียนสีน้ำตาลปกคลุมไปด้วยดินและทรายจากตัวอุโมงค์เอง เมื้อชั้นหินปูนถูกเอาออกไป สีน้ำตาลกลายเป็นสีแดงชาดเหมือนที่เคยทาสีไว้เมื่อ 500 ปีก่อน

คณะจิตรกรรมและคณะวิทยาศาสตร์ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้สร้างภาพจำลองโดยใช้คอมพิวเตอร์กราฟฟิคเพื่อศึกษาภาพบนผนังเพื่อทำการ
บูรณะปฏิสังขรณ์ เมื่อดิฉันอยู่ในอุโมงค์ฉันเห็นภาพทั้งบนหนังเพียงกวาดสายตามอง เป็นภาพแนวกว้างที่ทำให้ดิฉันรู้สึกประหลาดใจแม้ว่าดิฉันจะ
อาศัยอยู่ในจังหวัดเชียงใหม่มาเป็นเวลาหลายปี
เมื่อตอนที่ดิฉันยังเด็ก ดิฉันได้แสดงความเคารพอยู่ด้านนอกซึ่งดูค่อนข้างรกร้างและดิฉันประหลาดใจที่ไม่สามารถเข้าอุโมงค์ได้เพราะอุโมงค์ถูกปิด
อยู่ เห็นเพียงแค่บันไดเท่านั้น

เมื่อดิฉันได้ทราบข่าวเกี่ยวกับโครงการของกรมศิลปากรซึ่งเฝ้าดูแลวัดทุกแห่งในจังหวัดเชียงใหม่ ดิฉันพบว่าวัดอุโมงค์มีภาพเขียนบนผนังที่มีค่าและ
ได้ติดตามงานของทีมงานบูรณะ เมื่อชั้นหินปูนครอบคลุมภาพเขียนบนพื้นผิวกำแพง ภาพเขียนก็ดูคล้ายคลึงกับที่เครื่องถ้วยชามสมัยราชวงค์หมิงของประเทศจีน เมื่อปรากฏสีที่แท้จริง สีแดงชาด สีเขียวมรกตนั้นสวยงามตามธรรมชาติจริงๆ สีเขียวนั้นค่อนข้างจะมืดและชัดเจนกว่าสีแดงและสีน้ำเงินที่พบในลายดอกโบตั๋นของเครื่องถ้วยชามสมัยราชวงค์หยวนหรือหมิงของประเทศจีน มองไปที่ภาพถ่ายอินฟราเรดของสมาชิกโครงการ ดิฉันเห็นภาพฝูงนกกระสาและดอกโบตั๋นได้อย่างชัดเจน

อันที่จริงแล้วก็มีอุโมงค์4แห่งที่เชื่อมกับเจดีย์ในทางด้านทิศเหนือ ทางเข้าของทั้งสามอุโมงค์ตรงด้านหน้ามีภาพบนผนัง อุโมงค์แห่งที่ 4 ตรงกลางที่ใหญ่ที่สุดนั้นไม่มีภาพบนผนัง ทั้งเทคนิคการทำด้วยมือและภาพคอมพิวเตอร์กราฟฟิคนั้นช่วยในการสร้างภาพขึ้นมาใหม่ อุโมงค์นั้นสวยงามเป็นพิเศษ องค์ประกอบและลวดลายในอุโมงค์ทั้ง 3 แห่งนั้นเหมือนลวดลายผ้าที่ใช้เทคนิคสีฝุ่นและเขียนด้วยสีแดงชาดและสีเขียวมรกต และมีสีขาวและสีดำ


ภาพเขียนในอุโมงค์แห่งแรกคือฝูงรูปนกกระสาและดอกโบตั๋น ภาพเขียนในอุโมงค์แห่งที่สองคือดอกบัวและกลุ่มเมฆ ภาพเขียนในอุโมงค์แห่งที่สาม
คือลายดอกบัวและลายประจำยามซึ่งเป็นการขนานนามลายไทยชนิดหนึ่งดูแล้วก็น่าจะเป็นประสบการณ์ที่คุณแทบจะลืมหายใจเมื่อมีโอกาสไปเยือน..






As you look at the "bird's eye" photograph of Wat U-Mong temple by Luca Internizzi and Alberto Cassio, you see a bell-shaped pagoda at a sacred place, constructed at Chiang Mai in ancient times. Wat U-Mong temple is located at the foothill of DoiSuthep-Pui Mountain which is the natural boundary between Thailand and Myanmar (Burma). There are three entrances which are like the Pukam Art of Burma. The bell-shaped pagoda is early Lanna architecture (about 19th century of the Buddhist era) influenced by Langka architecture from India. The pagoda and U-Mong (tunnel) were abandoned for a long time, though people in Chiang Mai knew that Wat U-Mong temple was old and a sacred place because of the temple and pagoda with damaged walls and a museum which kept old relics.

At 140 cm (55 inches) wide 14 meters (46 feet) long and 180 cm (71 inches) high, the tunnel was decorated with  murals in a brown color covered with the land and sand from the tunnel itselfl. When the limestone layer was removed, the brown became vermilion red as they were painted 500 years agO.















The faculty of fine arts and the faculty of sciences of ChiangMai  University created a simulation image via computer graphics to study the murals for restoration.





When I heard the news about the projects from the Department of Arts which oversees all temples in Chiang Mai, I found that Wat U-Mong Temple has precious murals and I followed the work of the restoration team. When the limestone layer covered the murals on the wall surface, the murals seemed to resemble the porcelain from China's Ming dynasty period. Now the true colors, vermilion red and emerald green, are naturally brilliant. The green is quite dark and clearer than the red and blue which was found in the Peony flowers pattern of the China's porcelain in Yuan or Ming dynasty. Looking at the photos from the infrared film of the project member, I saw the picture of flocks of heron and peonies clearly.

























There are actually four tunnels that connect with the pagoda in the North. The entrances of three tunnels at the front have murals. The central tunnel (4th) is the largest and has no mural.
Both hand techniques and computer graphics help to recreate the images. The tunnels are exceptionally beautiful. The composition and pattern in the three tunnels are like textile patterns with an artistic technique of powder color and paint in vermillion red, emerald green as well as black and white.










The mural in the first tunnel shows flocks of heron and peonies. The mural in the second tunnel is lotuses and clouds. The mural in the third tunnel is lotuses and in a "pra cham yam pattern," the Thai word for the art pattern.
It is all rather breathaking to see and experience. 

























































































































No comments:

Post a Comment

Temp Song